สวัสดีครับสำหรับบทความนี้ ผมก็จะมาเล่าเกี่ยวกับ การโคลนนิ่งให้ฟังแบบคราวๆก็แล้วกันนะครับ
ก่อนอื่นเลยเรามารู้จักคำว่า การcloningกันก่อน
ซึ่งหมายถึงว่า การสร้างสิ่งที่มีลักษณะทางพันธุกรรมออกมา เหมือนกับสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ก่อน หรือเหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบนั่นเอง
ซึ่งการ ที่จะทำการcloning นั้นจะต้องมีการใช้หลักการทางพันธุวิศวกรรมเข้ามา
โดยส่วนใหญ่แล้วเมื่อเราพูดถึงการcloning เราจะนึกถึงการcloningจีน
หรือเรียกว่า Gene cloning นั่นเอง
Gene cloning เป็นการเพิ่มปริมาณยีนที่เราต้องการ(target gene)ให้มีปริมาณมาก
โดย target gene ได้มาจากการตัดชิ้นส่วนจีนของสิ่งมีชีวิตที่เราต้องการศึกษา
โดยใช้ Restriction enzyme ซึ่งเป็น enzymeที่ตัดสายดีเอ็นเอในบริเวณลำดับเบสที่มีความจำเพาะ
บริเวณลำดับเบสที่ตัดนั้นเรียกว่า Recognition site
หลังจากที่เราได้ชิ้นส่วน target gene นี้ออกมาแล้ว ก็จะนำไปเชื่อมต่อ(ligate)กับ ดีเอ็นเออื่นที่ตัดด้วยRestriction enzyme ตัวเดียวกัน โดยดีเอ็นเอนี้ เรียกว่า vector หรือ ดีเอ็นเอพาหะ
ภาพจาก: http://www.abfrontier.com/cs/gene.do
เราก็จะนำ target gene มาต่อกับ vector โดยใช้ enzymeที่ชื่อว่า DNA ligase
เมื่อเชื่อมต่อกันแล้วจะได้DNAสายผสม เรียกว่า recombinant DNA
จากนั้นเราก็จะนำ recombinant DNAนี้ เราก็จะนำใส่เข้าไปในเซลล์ที่เราต้องการให้เพิ่มปริมาณ DNAที่เราต้องการ เรียกเซลล์นั้นว่า recipient cell หรือ เซลล์ผู้รับ แล้วนำไปเพาะเลี้ยงให้ได้ปริมาณมากๆ
และทำการศึกษาต่อไป
สรุป การทำgene cloning จะทำให้เราเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมที่เราต้องการ ไม่ว่าจะเป็น DNA หรือ RNA โดยมีประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ศึกษาการแสดงออกของโปรตีน ศึกษาลำดับเบส ศึกษาการmutation เป็นต้น
HEAD BRIGHT
วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556
Syllable และ การ Stress เสียง ในภาษา อังกฤษ
ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จัก คำว่า พยางค์กันก่อน
พยางค์ หรือ syllables
คือ หน่วยพื้นฐานในภาษาพูดและเขียน
เป็นเสียงที่เราเปล่งออกมา
เช่น คำว่า Hotel มีสองพยางค์ คือ Ho กับ tel
การนับพยางค์
การจะนับว่าคำๆนึงมีกี่พยางค์ ให้ทำ ดังนี้
1.นับจำนวนสระในคำนั้นๆ
โดยไม่นับรวมสระที่ไม่ออกเสียง
เช่น ตัวe ที่อยู่ท้ายคำ
หรือ สระตัวที่สองที่อยู่ด้วยกันในพยางค์
2.ให้ออกเสียงสระควบกล้ำเป็นเสียงเดียว
คือ ออกให้เป็นเสียงเดียว
3.จำนวนของเสียงสระที่เหลือจากขบวนการข้างต้น
จะเท่ากับ1พยางค์
4.จำนวนของพยางค์ในการเปล่งเสียงคำหนึ่งๆออกมา
ก็จะเท่ากับจำนวนของเสียงสระที่มีการเปล่งออกมาให้ได้ยิน
เช่น
ในคำว่า came จะเห็นว่ามีสระ ปรากฏอยู่สองตัว (aและe)
แต่ e ไม่ออกเสียง
คำว่า outside จะมีสระ4ตัว (o u i e)
โดย e เป็นเสียงเงียบ
ou เป็นเสียงควบ
ซึ่งออกเป็นเสียงหนึ่ง
ดังนั้น คำนี้จึงมีสองพยางค์
5.Past-end
เสียง-ed ที่ลงท้ายกริยา
มีหลัก คือ verb ที่ลงท้าย t หรือ d
ให้เพิ่มเสียงพยางค์ขึ้นมาอีกหนึ่งเสียง
เป็น t+ed = เท็ด
d+ed = เด็ด
เช่น add+ed =added (แอดเด็ด)
แต่หากverbใดที่ลงท้ายด้วยอักษรอื่นๆ
-ed ที่เติม จะไม่ออกเสียงเต็มเท่า กรณีข้างต้น
เช่น close+d = closed
(อ่านว่าโคลสท์ ไม่ใช่ อ่านว่า โคลสเสด)
rented อ่านว่า เร้นเท็ด
6.สระที่ไม่ออกเสียง
สระที่ติดอยู่กับพยางค์ที่เน้นเสียง
มักจะไม่ออกเสียง
ave/rage เอฟเรท comfo/rtable คอมพ เทเบิล
diffe/rent ดิฟเฟรน inte/resting อิน เทรส ทิง
sepa/rate เซป เพลส vege/table เว็จ เทเบิล
fav/orite เฟรบ ริท
Stress/accent
หมายถึง การเน้นเสียงพยางค์บางตัว
ในคำหนึ่งๆ
หรือไม่ก็เป็นการเน้นคำหนึ่งๆ ในวลีหรือ ในประโยค
หลักการ
1.คำหนึ่งๆ จะstress ได้พยางค์เดียวเท่านั้น
2.เราจะเน้นที่เสียงสระเท่านั้น
ปล.ในที่นี้การเน้นคำ จะใช้ ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่
เพิ่มประกอบความเข้าใจที่ง่ายขึ้น
การเน้นที่พยางค์แรก
โดย ส่วนมาก เป็น คำnoun และ adjective
เช่น PRESent, EXport, CHIna, SLENder, HAPpy เป็นต้น
การเน้นพยางค์สุดท้าย
เช่น to preSENT, to exPORT, to deCIDE เป็นต้น
คำที่ลงท้ายด้วย -ic, -sion และ -tion
เช่น GHAPHic, geoGHAPHic, geoLOGic
teleVIsion, reveLAsion
คำที่ลงท้ายด้วย -cy, -ty, -phy, -gy และ -al
เช่น deMOcracy, phoTOgraphy, CRItical เป็นต้น
การเน้นเสียง คำผสม
คำผสม คือ คำที่ผสมสองคำ
แล้วได้ความหมายใหม่
แบ่งเป็น
คำนามผสม โดย ให้เน้นที่คำ
เช่น BLACKbird, GREENhouse
คำadjective ผสม โดย ให้เน้นที่คำ
เช่น bad-TEMpered, old-FASHioned
คำverb ผสม โดย ให้เน้นที่คำ
เช่น to underSTAND, to overFLOW
การเน้นเสียงตัวเลข
ลงท้าย -ty
พวกนับสิบทั้งหลาย
โดย ให้เน้นเสียง หน้า -ty
เช่น FIFty, FORty
ลงท้ายด้วย -teen
ให้เน้นคำว่าTEEN
เช่น fifTEEN, nineTEEN
พยางค์ หรือ syllables
คือ หน่วยพื้นฐานในภาษาพูดและเขียน
เป็นเสียงที่เราเปล่งออกมา
เช่น คำว่า Hotel มีสองพยางค์ คือ Ho กับ tel
การนับพยางค์
การจะนับว่าคำๆนึงมีกี่พยางค์ ให้ทำ ดังนี้
1.นับจำนวนสระในคำนั้นๆ
โดยไม่นับรวมสระที่ไม่ออกเสียง
เช่น ตัวe ที่อยู่ท้ายคำ
หรือ สระตัวที่สองที่อยู่ด้วยกันในพยางค์
2.ให้ออกเสียงสระควบกล้ำเป็นเสียงเดียว
คือ ออกให้เป็นเสียงเดียว
3.จำนวนของเสียงสระที่เหลือจากขบวนการข้างต้น
จะเท่ากับ1พยางค์
4.จำนวนของพยางค์ในการเปล่งเสียงคำหนึ่งๆออกมา
ก็จะเท่ากับจำนวนของเสียงสระที่มีการเปล่งออกมาให้ได้ยิน
เช่น
ในคำว่า came จะเห็นว่ามีสระ ปรากฏอยู่สองตัว (aและe)
แต่ e ไม่ออกเสียง
คำว่า outside จะมีสระ4ตัว (o u i e)
โดย e เป็นเสียงเงียบ
ou เป็นเสียงควบ
ซึ่งออกเป็นเสียงหนึ่ง
ดังนั้น คำนี้จึงมีสองพยางค์
5.Past-end
เสียง-ed ที่ลงท้ายกริยา
มีหลัก คือ verb ที่ลงท้าย t หรือ d
ให้เพิ่มเสียงพยางค์ขึ้นมาอีกหนึ่งเสียง
เป็น t+ed = เท็ด
d+ed = เด็ด
เช่น add+ed =added (แอดเด็ด)
แต่หากverbใดที่ลงท้ายด้วยอักษรอื่นๆ
-ed ที่เติม จะไม่ออกเสียงเต็มเท่า กรณีข้างต้น
เช่น close+d = closed
(อ่านว่าโคลสท์ ไม่ใช่ อ่านว่า โคลสเสด)
rented อ่านว่า เร้นเท็ด
6.สระที่ไม่ออกเสียง
สระที่ติดอยู่กับพยางค์ที่เน้นเสียง
มักจะไม่ออกเสียง
ave/rage เอฟเรท comfo/rtable คอมพ เทเบิล
diffe/rent ดิฟเฟรน inte/resting อิน เทรส ทิง
sepa/rate เซป เพลส vege/table เว็จ เทเบิล
fav/orite เฟรบ ริท
Stress/accent
หมายถึง การเน้นเสียงพยางค์บางตัว
ในคำหนึ่งๆ
หรือไม่ก็เป็นการเน้นคำหนึ่งๆ ในวลีหรือ ในประโยค
หลักการ
1.คำหนึ่งๆ จะstress ได้พยางค์เดียวเท่านั้น
2.เราจะเน้นที่เสียงสระเท่านั้น
ปล.ในที่นี้การเน้นคำ จะใช้ ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่
เพิ่มประกอบความเข้าใจที่ง่ายขึ้น
การเน้นที่พยางค์แรก
โดย ส่วนมาก เป็น คำnoun และ adjective
เช่น PRESent, EXport, CHIna, SLENder, HAPpy เป็นต้น
การเน้นพยางค์สุดท้าย
เช่น to preSENT, to exPORT, to deCIDE เป็นต้น
คำที่ลงท้ายด้วย -ic, -sion และ -tion
เช่น GHAPHic, geoGHAPHic, geoLOGic
teleVIsion, reveLAsion
คำที่ลงท้ายด้วย -cy, -ty, -phy, -gy และ -al
เช่น deMOcracy, phoTOgraphy, CRItical เป็นต้น
การเน้นเสียง คำผสม
คำผสม คือ คำที่ผสมสองคำ
แล้วได้ความหมายใหม่
แบ่งเป็น
คำนามผสม โดย ให้เน้นที่คำ
เช่น BLACKbird, GREENhouse
คำadjective ผสม โดย ให้เน้นที่คำ
เช่น bad-TEMpered, old-FASHioned
คำverb ผสม โดย ให้เน้นที่คำ
เช่น to underSTAND, to overFLOW
การเน้นเสียงตัวเลข
ลงท้าย -ty
พวกนับสิบทั้งหลาย
โดย ให้เน้นเสียง หน้า -ty
เช่น FIFty, FORty
ลงท้ายด้วย -teen
ให้เน้นคำว่าTEEN
เช่น fifTEEN, nineTEEN
วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556
Acid-fast staining
แบคทีเรียในกลุ่มมัยMycobacteria
มีโครงสร้างผนังเซลล์พิเศษที่มีไขมันในปริมาณสูง
และมีกรด mycolic เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ
ซึ่งไม่พบในแบคทีเรียชนิดอื่น
การมีกรด mycolic ในโครงสร้างของผนังเซลล์ ทำให้การย้อมสีแกรมให้ผลไม่ดี
เนื่องจากสีไม่สามารถเข้าผนังเซลล์
แต่จะย้อมได้โดยใช้วิธีการย้อมสีทนกรด (acid-fast staining)
เนื่องจากเชื้อที่ติดสีแล้วไม่สามารถล้างออกได้ง่าย ด้วย acid alcohol
จึงได้จำแนกแบคทีเรียกลุ่มนี้เป็นพวกทนกรด (Acid-fast bacteria, AFB)
กระบวนการย้อมสีแบบนี้สามารถทำได้โดยวิธีของ Ziel-Neelsen
ซึ่งเป็นวิธีที่ต้องใช้ความร้อนช่วยให้เซลล์ติดสีดีขึ้น
มีโครงสร้างผนังเซลล์พิเศษที่มีไขมันในปริมาณสูง
และมีกรด mycolic เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ
ซึ่งไม่พบในแบคทีเรียชนิดอื่น
การมีกรด mycolic ในโครงสร้างของผนังเซลล์ ทำให้การย้อมสีแกรมให้ผลไม่ดี
เนื่องจากสีไม่สามารถเข้าผนังเซลล์
แต่จะย้อมได้โดยใช้วิธีการย้อมสีทนกรด (acid-fast staining)
เนื่องจากเชื้อที่ติดสีแล้วไม่สามารถล้างออกได้ง่าย ด้วย acid alcohol
จึงได้จำแนกแบคทีเรียกลุ่มนี้เป็นพวกทนกรด (Acid-fast bacteria, AFB)
กระบวนการย้อมสีแบบนี้สามารถทำได้โดยวิธีของ Ziel-Neelsen
ซึ่งเป็นวิธีที่ต้องใช้ความร้อนช่วยให้เซลล์ติดสีดีขึ้น
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. Kinyoun’s
carbolfuchsin stain
2.
Ziehl-Neelsen carbolfuchsin stain
3.
Acid-alcohol solution
4.
Loeffler’s alkaline methylene blue stain
5. ห่วงเขี่ยเชื้อ และตะเกียงอัลกอฮอล์
6. น้ำกลั่น
7. สไลด์ ลวดรองสไลด์
8. กล้องจุลทรรศน์ กระดาษเช็ดเลนส์ และ immersion oil
เชื้อแบคทีเรีย
1. เชื้อ Staphylocococcus
aureus ในอาหารแข็ง
2. เชื้อในกลุ่ม Mycobacterium สายพันธุ์ที่ไม่ก่อโรค
(non-pathogenic) ในอาหารแข็ง
วิธีทำ
วิธี Ziehl-Neelsen method
1. เตรียมสไลด์สะอาดจำนวน 3 แผ่น
2. smear
ของเชื้อจำนวน 3 แผ่น
แผ่นแรกเป็นสเมียร์ของเชื้อ S.
aureus
แผ่นที่สองเป็นสเมียร์ของเชื้อ Mycobacterium sp.
แผ่นที่สามเป็นสเมียร์ของเชื้อผสม S.
aureus และ Mycobacterium sp. ใน smear
เดียวกัน
3. ทิ้งให้รอย smear
แห้งด้วยอากาศแล้วตรึง smear ด้วยความร้อน
4. หยดสี Ziehl-Neelsen
carbolfuchsin ให้ท่วมรอย smear
5. ทำให้ร้อนจนเกิดไอ แต่ไม่เดือด
โดยนำไปอังไฟจากตะเกียงหรือจากไอน้ำร้อนจากบีกเกอร์ตั้งไฟ
เป็นเวลา 5 นาที ถ้าสีแห้งให้หยดเพิ่ม
6. ล้างด้วยน้ำประปา
7. ล้างสีออกด้วย acid-alcohol
โดยหยด
acid-alcohol decolorizer
ให้ท่วมรอยสเมียร์นาน 1 นาที
ชะเบาๆด้วยน้ำประปา
8. ย้อมทับด้วยสี methylene blue
ทิ้งไว้
1-2 นาที รินสีที่เหลืออก
ล้างด้วยน้ำประปา
ซับน้ำให้แห้ง
9. หลังจากสเมียร์แห้งแล้ว
นำไปดูด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์น้ำมัน
บันทึกรูปร่างและสีของแบคทีเรียให้ใกล้เคียงกับที่เห็นจากกล้อง
วิธี Kinyoun method
1. เตรียมสไลด์สะอาดจำนวน 3 แผ่น
2. เตรียม smear
ของเชื้อจำนวน 3 แผ่น
แผ่นแรกเป็นสเมียร์ของเชื้อ S.
aureus
แผ่นที่สองเป็นสเมียร์ของเชื้อ Mycobacterium sp.
แผ่นที่สามเป็นสเมียร์ของเชื้อผสม S.
aureus และ Mycobacterium sp.
3. ทิ้งให้รอย smear
แห้งด้วยอากาศแล้ว fix smear ด้วยความร้อน
4. หยดสี Kinyoun’s
carbolfuchsin ให้ท่วมรอย smear ทิ้งไว้ 2
นาที
5. ล้างสีออกด้วย acid-alcohol
โดยหยด
acid-alcohol ทีละหยด จนเห็นว่าแผ่นสไลด์มีสีติดเล็กน้อย
อาจใช้เวลาประมาณ 10-30 วินาที ขั้นตอนต้องระวังการล้างสีออกมากเกินไป
6. ล้างด้วยน้ำประปา
7. ย้อมทับด้วยสี methylene blue
ทิ้งไว้
1-2 นาที รินสีที่เหลืออก ล้างด้วยน้ำประปา
8. ซับน้ำให้แห้งหลังจากสเมียร์แห้งแล้ว
นำไปดูด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์น้ำมัน
บันทึกรูปร่างและสีของแบคทีเรียให้ใกล้เคียงกับที่เห็นจากกล้อง
Giardia lamblia
เป็นโปรโตซัวกลุ่มแฟลกเจลเลต
ทำให้เกิดโรคท้องร่วงเรื้อรัง (Giardiosis,Giardiasis)
พบได้ทั่วโลกโดยเฉพาะเขตร้อน
พบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่
มีความจำเพาะต่อ host สูง
วงชีวิต
รูป cyst
รูป trophozoite
1.ติดต่อเข้าสู่คนโดยการกินอาหาร และน้ำดื่ม
ที่มะระยะ cyst
สัตว์ที่มีการตรวจพบ ได้แก่ สุนัข แมว โค กะบือ
ซึ่งถือเป็นhost กักตุนได้
2.cyst แบ่งตัวภานใน ได้ ปรสิต เป็นระยะโทรโฟซอย 2ตัว
ออกจาก cyst ไปเกาะเซลล์บุลำไส้เล็กส่วนต้น
มีการแบ่งตัวแแบบไม่อาศัยเพศ
3.โทรโฟซอย มีลักษณะ คล้ายลูกแพร ผ่าซีก
ด้านหลังโค้งนูน ด้านหน้าโค้งเว้า
ตอนบนด้านหน้ามีแผ่นยึดเกาะ
มีนิวเคลียส 2 อัน
เรียงตัวซ้าย-ขวา ตรงแผ่นยึดเกาะ
มีแฟลกเจลเลต 4 คู่
ตรงกลางบะ median body ซึ่งเป็นแท่ง
ลักษณะโค้งสั้นๆ2 อัน
วางขวางลำตัว
4.โทรโฟซอยต์ ใช้แผ่นยึดเกาะ ยึดติดลำไส้
หลังจากเพิ่มจำวนวนไประยะหนึ่ง
จะแปรสภาพเป็นcyst ขณะเคลื่อนที่เข้ามาลำไส้ใหญ่
5. cyst มีลักษณะกลมรี มี 4 นิวเคลียส
เป็นระยะติดต่อ
ภายในเห็นแอกโซมีม และ มีเดียน บอดี้ ได้
การติดต่อมักปนเปื้อนไปกับอาหารและน้ำดื่ม
รับcyst จากอุจจาระ เข้าทางปากโดยตรง
ชายรักร่วมเพศมีโอกาสติดโรคนี้สูง
Blastocystis hominis
credit : http://www.dpd.cdc.gov/DPDX/images/ParasiteImages/A-F/Blastocystis/Bhominis_cyst_wtmt_io2.jpg
Morphology 3 forms
1) Vacuolated form
infective stage
ขนาด 8-10 μm
2) Amoeboid form
พบได้ค่อนข้างยาก
3) Granular form
ต้องทำ Culture ถึงจะพบ
Pathology
Diarrhea
Nausea/Vomiting
Insomnia
Fever
Abdominal pain & cramping
Treatment
Metronidazole
Tinidazole
Ketocinazole
Entamoeba histolytica
Entamoeba histolytica
เป็นกลุ่มอะมีบาที่ทำให้เกิดโรคบิดอะมีบา
พบได้ทั่วโลก
cyst
trophozoite
วงจรชีวิต
1.ติดเข้าสู่คนโดย ปนกับอาหารและ น้ำดื่ม
infective stage คือ cyst มี 4 นิวเคลียส
2.cyst ลงสู่ผ่านลำใส้เล็ก
ผนัง cyst ถูกย่อย ปล่อย โทรโฟซอยต์ออกมา
ซึ่งขั้นแรกมี 4นิวเคลียส แบ่งตัวได้ 8 นิวเคลียส
binary fission ได้ 8 เซลล์โทรโฟซอยต์
ไปลำไส้ใหญ่ โดยเกาะติด+ บุกรุกเข้าผนังลำไส้
เกิดแผล และ บิดมีมูกเลือด
อาจทะลุเข้าไปสู่กระแสเลือด
และแพร่เข้าสู่อวัยวะอื่่นๆ เช่น ตับ ปอด ก่อฝี(abcess)
3.เชื้อมีรูปร่างไม่แน่นอน สร้างขาเทียม
ใช้เคลื่อนที่ และจับกินอาหาร
4.เมื่อแบ่งตัวไประยะหนึ่ง
จะแปรสภาพเป็นcyst ปนออกมากับอุจจาระ
ติดไปยังคนอื่นโดยปนกับ อาหาร และ น้ำดื่ม
ชายรักร่วมเพศมีโอกาสติดโรคนี้สูง
ทำให้เกิดamoebiasis
พบมากใน tropical country
สุขอนามัยไม่ดี
10% ของประชากรโรค infected
โดยมี 10% ที่แสดงอาการของโรค
pathogen and symptoms
มี2แบบ
1)เชื้อบิดในลำไส้
ลำไส้ทะลุ
ลักษณะแผลปากแคบก้นกว้าง (flask shape)
อาการ
10%ที่แสดงอาการ
ไม่มีไข้
ปวดท้อง ปวดเบ่งตลอดเวลา
feces เป็นของเหลว เป็นมูก อาจมีเลือดปน กลิ่นเหม็นมาก
Diagnosis
อุจจาระตรวจพบทั้ง trophozoite และ cyst
วิธีการตรวจทาง serology เช่น ELISA
Treatment
Metranidazole
Tinidazole
Paromomycin
2)เชื้อบิดนอกลำไส้ (Extra-intestinal amoebiasis)
ตับ ปอด สมอง
มีไข้สูง คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้องส่วนบน ตับโต กดเจ็บ
ส่วนใหญ่พบที่ตับกลีบขวา
หนองเป็นสีกะปิไม่มีกลิ่น
Diagnosis
Ultrasound/ CT scan Treatment
Treatment
เหมือนบิดในลำไส้
วันเสาร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2556
key structure
Be+about+to - infinitive หมายความว่า
เราจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งในไม่ช้า
Actual หมายถึง real
Actualy หมายถึง really
หรือ in
fact
มักใช้ เพื่อแก้ข้อผิดพลาด
แก้ความเข้าใจผิด
หรือ
เมื่อพูดถึงสิ่งที่ไม่ได้คาดหวัง น่าแปลกใจ
การเรียงลำดับ Adjective
เรียง colour origin
material purpose noun
Adverb
ใช้เพื่อแสดงว่า มีความแน่ใจมากแค่ไหน
ใช้เพื่อแสดงว่า สิ่งๆหนึ่งเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์มากเพียงไร
ใช้เพื่อแสดงว่า สิ่งต่างๆ ได้เกิดขึ้น
และถูกทำขึ้นอย่างไร
หรือโดยทางใด
ใช้เพื่อแสดงว่า สิ่งหนึ่งๆ เกิดขึ้น ณ ที่ใด
ใช้เพื่อแสดงว่า สิ่งๆหนึ่งเกิดขึ้นเมื่อใด
manner, place, time เป็น adv ท้ายประโยค
เรามักจะเรียงตามลำดับ manner, place, time (MPT)
After เป็น Conjunction
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)